การศึกษา
- พ.ศ. ๒๕๔๖ : นักธรรมชั้นเอก
- พ.ศ. ๒๕๕๓ : เปรียญธรรม ๓ ประโยค
- พ.ศ. ๒๕๕๑ : ปริญญาตรี พุทธศาสตรบัณฑิต (พธ.บ.) รัฐศาสตร์ (การเมืองการปกครอง), มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
- พ.ศ. ๒๕๕๗ : ปริญญาโท ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศศ.ม.) การบริหารการพัฒนาสังคม (นโยบายและการวางแผนทางสังคม),สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA)
- พ.ศ. ๒๕๖๕ : ปริญญาเอก ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.) รัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ประสบการณ์ทำงาน
- พ.ศ.๒๕๕๗ ถึง ๒๕๖๖ : อาจารย์ประจำหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต วิทยาลัยสงฆ์เพชรบุรี
- พ.ศ. ๒๕๖๖ ถึง ปัจจุบัน : อาจารย์ประจำหลักสูตรรัฐศาสตรมหาบัณฑิต วิทยาลัยสงฆ์เพชรบุรี
- พ.ศ.๒๕๕๗-๒๕๖๓ : เลขานุการหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต วิทยาลัยสงฆ์เพชรบุรี : เลขานุการคณะกรรมการประจำวิทยาลัยสงฆ์เพชรบุรี : กองบรรณาธิการบริหารวารสาร มจร เพชรบุรีปริทรรศน์ (TCI 2) : ผู้ประเมินวารสาร มจร เพชรบุรีปริทรรศน์ (TCI 2)
ความเชี่ยวชาญ
- การบริหารการพัฒนาสังคม (นโยบายและการวางแผนทางสังคม), รัฐศาสตร์, พระพุทธศาสนา, การบริหารการศึกษา, รัฐประศาสนศาสตร์
สถานที่ทำงาน
- วิทยาลัยสงฆ์เพชรบุรี มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
งานวิจัย
อนุชา พละกุล พระสมุห์อาคม อาคมธีโร และดาวนภา เกตุทอง. (๒๕๖๗). การพัฒนาผลิตภัณฑ์ต้นแบบและกลไกการตลาดวิสาหกิจชุมชนตาลเมืองเพชร. สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
อนุชา พละกุล พระสมุห์อาคม อาคมธีโร และดาวนภา เกตุทอง. (๒๕๖๖). รูปแบบการสร้างเครือข่ายการพัฒนาเกษตรวิถีพุทธและกระบวนการผลิตสินค้าปลอดภัยเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากของชุมชนในจังหวัดเพชรบุรี. สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
อนุชา พละกุล พระสมุห์อาคม อาคมธีโร และปกรณ์ เนตรขำ. (๒๕๖๕). การพัฒนาการตื่นตัวทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตยของประชาชนเขตองค์การบริหารส่วนตำบลในจังหวัดเพชรบุรี. สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
อนุชา พละกุล อภิชญา ฤๅชัย นิรวรรณ ทองมี และดาวนภา เกตุทอง. (๒๕๖๓). การพัฒนาเทศบาลตำบลหาดเจ้าสำราญ : การยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนด้านสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองตามแนวคิดภูมิรัฐศาสตร์การพัฒนาเชิงพื้นที่. สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
อนุชา พละกุล. (นักวิจัยร่วม). (๒๕๖๓). การศึกษาเปรียบเทียบละครชาตรีเมืองเพชรและละครชาตรีกรมศิลปากร. สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
อนุชา พละกุล. (นักวิจัยร่วม). (๒๕๖๓). แนวทางการพัฒนากระบวนการเผยแพร่แนวพระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียงของพระสงฆ์ ในจังหวัดเพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ สมุทรสงคราม. สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
อนุชา พละกุล. (นักวิจัยร่วม). (๒๕๖๑). การเสริมสร้างความรู้และควบคุมการทุจริตโดยพระสงฆ์ ภาคประชาชน และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดเพชรบุรี. สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
อนุชา พละกุล. (นักวิจัยร่วม). (๒๕๖๑). ภัยคุกคามรูปแบบใหม่ : องค์ประกอบ ตัวบ่งชี้ และผลกระทบต่อความมั่นคงของสังคมไทย. สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
อนุชา พละกุล. (นักวิจัยร่วม). (๒๕๖๐). การศึกษาวิเคราะห์องค์ความรู้และแนวปฏิบัติกัมมัฏฐานตามสายพระมหาเถระของไทยและพม่า. สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
อนุชา พละกุล. (นักวิจัยร่วม). (๒๕๕๙). หลักสุญญตาแนวคิด การตีความ และการวิเคราะห์ เพื่อบูรณาการกับการสร้างความสมดุลของชีวิตและสังคม. สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
อนุชา พละกุล. (นักวิจัยร่วม). (๒๕๕๘). ศึกษาวิเคราะห์หลักความเชื่อเรื่องพุทธ ผี และพราหมณ์ ในสังคมไทย. สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
อนุชา พละกุล. (นักวิจัยร่วม). (๒๕๕๗). การศึกษาวิเคราะห์รัฐศาสตร์เชิงพุทธในมุมมองของนักวิชาการด้านรัฐศาสตร์ในประเทศไทย. สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
บทความวิจัย
อนุชา พละกุล พระสมุห์อาคม อาคมธีโร และดาวนภา เกตุทอง. รูปแบบการสร้างเครือข่ายการพัฒนาเกษตรวิถีพุทธและกระบวนการผลิตสินค้าปลอดภัยเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากของชุมชนในจังหวัดเพชรบุรี, วารสารวิทยาลัยสงฆ์นครลำปาง, ปีที่ ๑๒ ฉบับที่ ๓ (กันยายน – ธันวาคม ๒๕๖๖) : ๑๔๓-๑๕๕.
อนุุชา พละกุุล, พระสมุุห์อาคม อาคมธีโร และปกรณ์ เนตรขำ. การพัฒนาการตื่นตัวทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตยของประชาชนเขตองค์การบริหารส่วนตำบลในจังหวัดเพชรบุรี. วารสารวิชาการธรรมทรรศน์, ปีที่ ๒๓ ฉบับที่ ๒ (เมษายน – มิถุุนายน ๒๕๖๖): ๑๗๗-๑๙
อนุชา พละกุล ศิริเพ็ญ สุดแสนสง่า อภิชญา ฤๅชัย นิรวรรณ ทองมี และดาวนภา เกตุทอง. (๒๕๖๔). การพัฒนาเทศบาลตำบลหาดเจ้าสำราญ: การยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนด้านสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองตามแนวคิดภูมิรัฐศาสตร์การพัฒนาเชิงพื้นที่. วารสาร มจร เพชรบุรีปริทรรศน, ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๒ (กรกฎาคม – ธันวาคม ) : ๓๓-๕๓.
พระครูวัชรสุวรรณาทร, พระอาคม อาคมธีโร และอนุชา พละกุล. (๒๕๖๒). การผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น : คุณค่าอัตลักษณ์และการสร้างมูลค่าเพิ่มด้วยวัฒนธรรมชุมชน. วารสารศรีปทุมปริทัศน์ ฉบับมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, ปีที่ ๑๙ ฉบับที่ ๒ เดือน กรกฎาคม – ธันวาคม ๒๕๖๒ ISSN 1513-7287 หน้า ๑๓๙-๑๕๓.
พระครูอุดมเจติยารักษ์, อนุชา พละกุล, ศิริเพ็ญ สุดแสนสง่า, มะลิ ทิพพ์ประจง และสุบัน สวัสดิ์ประภา. การเสริมสร้างความรู้และควบคุมการทุจริตโดยพระสงฆ์ ภาคประชาชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดเพชรบุรี. Journal of MCU Nakhondhat, ISSN: 2586-923X (TCI 1) Vol.6 No.10 (December 2019): 4833-4851.
นพ เฟื่องฟู, พระครูสุนทรวัชรกิจ, พระครูอุดมเจติยารักษ์, พ.ต.อ.ณัฏฐ์พัชร์ โฆษิตเลิศ, ศิริเพ็ญ สุดแสนสง่า, อนุชา พละกุล และมะลิ ทิพพ์ประจง. ภัยคุกคามรูปแบบใหม่: องค์ประกอบ ตัวบ่งชี้และผลกระทบต่อความมั่นคงของสังคมไทยในจังหวัดเพชรบุรี. Journal of Modern Learning Development. ISSN 2673-074X. (Tier 2). ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (2020): มีนาคม – เมษายน 2563 ในหน้า 78-96
บทความวิชาการ
อนุชา พละกุล. โลกทัศน์การเมืองการปกครองของชาวบ้าน. วารสารครุศาสตร์วิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย, ปี ที่ 6 ฉบับที่ 2 (มิถุนายน –ธันวาคม 2564) 109-๑๒๑.
อนุชา พละกุล. การวิเคราะห์โลกทัศน์ทางการเมืองของเยาวชนที่มีต่อรัฐบาลไทยช่วง พ.ศ. 2563. วารสาร มจร เพชรบุรีปริทรรศน์, ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน 2563) ๖๑-๗๕.
อนุชา พละกุล. รูปแบบการบริหารมหาวิทยาลัยสงฆ์ไตรมาสสุดท้าย. วารสารมหาจุฬาวิชาการ, ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๓ ๓๒๖-๓๗๔.
อนุชา พละกุล สุรพล สุยะพรหม ยุทธนา ประณีต พระสมุห์อาคม อาคมธีโร และดาวนภา เกตุทอง. ธรรมาธิปไตย : แนวคิด ทฤษฎี และการส่งเสริมการตื่นตัวทางการเมืองระบอบประชาธิปไตยของเยาวชน. วารสาร มจร เพชรบุรีปริทรรศน์, ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน 2563) ๔๐-๖๐.
อนุชา พละกุล. พุทธะ-ผู้รู้แจ้งเห็นจริงแล้วไปจากทุกขรัฐ: บทวิเคราะห์เปรียบเทียบการเมืองการปกครองร่วมสมัยพุทธกาลและการปฏิเสธอำนาจการปกครองรัฐของมกุฎราชกุมารสิทธัตถะ. วารสาร มจร เพชรบุรีปริทรรศน์, ปีที่ 3 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2563) ๓๑-๔๕.
พระวิสุทธิวรกิจ, พระครูอุดมเจติยารักษ์, ศิริเพ็ญ สุดแสนสง่า และอนุชา พละกุล. (ผลงานร่วม). พุทธวิธีการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในองค์กรเพื่อความเป็นเลิศในยุคดิจิทัล, Journal of Modern Learning Development, ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๖ ประจำเดือนพฤศจิกายน–ธันวาคม ๒๕๖๓: ๓๓๓-๓๔๘.
อนุชา พละกุล. ความคิดเห็นและพฤติกรรมชนชั้นกลางที่มีต่อประชาธิปไตยไทย.วารสารวิชาการมนุษยสังคมปริทัศน์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี. ปีที่ ๑๘. ฉบับที่ ๑ มกราคม – มิถุนายน ๒๕๕๙ : ISSN 0859-869X ในหน้า ๕๙-๗๙.
อนุชา พละกุล. (ผลงานร่วม). แนวทางการพัฒนาการเมืองการปกครองในสังคมชนบทสมัยใหม่. วารสารรัชต์ภาคย์ Rajapark Journal ฉบับมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ปีที่ ๑๒ ฉบับที่ ๒๖ พฤษภาคม – สิงหาคม ๒๕๖๑ ISSN: 1905-2243 ในหน้า ๒๗๐-๒๙๗.
อนุชา พละกุล. (ผลงานร่วม). พุทธรัฐศาสตร์ : ประสิทธิภาพ ผลสัมฤทธิ์ และบัณฑิตของหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยในหนึ่งทศวรรษหน้า (พ.ศ.๒๕๖๐-๒๕๖๙). ใน รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ ๑ ฉบับสมบูรณ์. วิทยาลัยสงฆ์พุทธปัญญาศรีทวารวดี มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วันที่ ๙-๑๐ พฤศจิกายน ๒๕๖๑ หน้า ๑๓๑-๑๔๕.
อนุชา พละกุล. (ผลงานร่วม). ธรรมาภิบาล : ทางรอด ทางเลือก สู่การปกครองอย่างยั่งยืนของท้องถิ่น. งานประชุมวิชาการระดับนานาชาติภูมิศาสตร์เชิงวัฒนธรรมในพระพุทธศาสนา ครั้งที่ ๗ ประจำปี ๒๕๕๘ (IBRS 2016) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. สถาบันวิจัยพุทธศาสน์. น่าน. ๒๕๕๘ หน้า ๑๖๕๑-๑๖๖๓.
อนุชา พละกุล. (ผลงานร่วม). ภัยคุกคามรูปแบบใหม่และผลกระทบต่อสังคมไทย. งานประชุมวิชาการระดับนานาชาติภูมิศาสตร์เชิงวัฒนธรรมในพระพุทธศาสนา ครั้งที่ ๗ ประจำปี ๒๕๕๘ (IBRS 2016) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. สถาบันวิจัยพุทธศาสน์. น่าน.๒๕๕๘ หน้า ๑๖๖๔-๑๖๗๕.
อนุชา พละกุล. (ผลงานร่วม). อาเซียน : ความสัมพันธ์กระแสนิยมระหว่างประเทศสมัยใหม่. งานประชุมวิชาการระดับนานาชาติภูมิศาสตร์เชิงวัฒนธรรมในพระพุทธศาสนา ครั้งที่ ๗ ประจำปี ๒๕๕๘ (IBRS 2016) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. สถาบันวิจัยพุทธศาสน์. น่าน.๒๕๕๘ หน้า ๑๖๗๖-๑๖๙๐.
อนุชา พละกุล. (ผลงานร่วม). การเสริมสร้างความรู้และควบคุมการทุจริตโดยพระสงฆ์ ภาคประชาชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดเพชรบุรี. Journal of MCU Nakhondhat ISSN: 2586-923X (TCI 1) Vol.6 No.10 (December 2019): 4833-4851.
อนุชา พละกุล. (ผลงานร่วม). ภัยคุกคามรูปแบบใหม่: องค์ประกอบ ตัวบ่งชี้และผลกระทบต่อความมั่นคงของสังคมไทยในจังหวัดเพชรบุรี. Journal of Modern Learning Development. ISSN 2673-074X. (Tier 2). ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (2020): มีนาคม – เมษายน 2563 ในหน้า 78-96.
เอกสารประกอบการสอน
อนุชา พละกุล. โลกทัศน์การเมืองการปกครองของชาวบ้าน. วารสารครุศาสตร์วิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย, ปี ที่ 6 ฉบับที่ 2 (มิถุนายน –ธันวาคม 2564) 109-๑๒๑.
อนุชา พละกุล. การวิเคราะห์โลกทัศน์ทางการเมืองของเยาวชนที่มีต่อรัฐบาลไทยช่วง พ.ศ. 2563. วารสาร มจร เพชรบุรีปริทรรศน์, ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน 2563) ๖๑-๗๕.
อนุชา พละกุล. รูปแบบการบริหารมหาวิทยาลัยสงฆ์ไตรมาสสุดท้าย. วารสารมหาจุฬาวิชาการ, ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๓ ๓๒๖-๓๗๔.
อนุชา พละกุล สุรพล สุยะพรหม ยุทธนา ประณีต พระสมุห์อาคม อาคมธีโร และดาวนภา เกตุทอง. ธรรมาธิปไตย : แนวคิด ทฤษฎี และการส่งเสริมการตื่นตัวทางการเมืองระบอบประชาธิปไตยของเยาวชน. วารสาร มจร เพชรบุรีปริทรรศน์, ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน 2563) ๔๐-๖๐.
อนุชา พละกุล. พุทธะ-ผู้รู้แจ้งเห็นจริงแล้วไปจากทุกขรัฐ: บทวิเคราะห์เปรียบเทียบการเมืองการปกครองร่วมสมัยพุทธกาลและการปฏิเสธอำนาจการปกครองรัฐของมกุฎราชกุมารสิทธัตถะ. วารสาร มจร เพชรบุรีปริทรรศน์, ปีที่ 3 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2563) ๓๑-๔๕.
พระวิสุทธิวรกิจ, พระครูอุดมเจติยารักษ์, ศิริเพ็ญ สุดแสนสง่า และอนุชา พละกุล. (ผลงานร่วม). พุทธวิธีการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในองค์กรเพื่อความเป็นเลิศในยุคดิจิทัล, Journal of Modern Learning Development, ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๖ ประจำเดือนพฤศจิกายน–ธันวาคม ๒๕๖๓: ๓๓๓-๓๔๘.
อนุชา พละกุล. ความคิดเห็นและพฤติกรรมชนชั้นกลางที่มีต่อประชาธิปไตยไทย.วารสารวิชาการมนุษยสังคมปริทัศน์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี. ปีที่ ๑๘. ฉบับที่ ๑ มกราคม – มิถุนายน ๒๕๕๙ : ISSN 0859-869X ในหน้า ๕๙-๗๙.
อนุชา พละกุล. (ผลงานร่วม). แนวทางการพัฒนาการเมืองการปกครองในสังคมชนบทสมัยใหม่. วารสารรัชต์ภาคย์ Rajapark Journal ฉบับมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ปีที่ ๑๒ ฉบับที่ ๒๖ พฤษภาคม – สิงหาคม ๒๕๖๑ ISSN: 1905-2243 ในหน้า ๒๗๐-๒๙๗.
อนุชา พละกุล. (ผลงานร่วม). พุทธรัฐศาสตร์ : ประสิทธิภาพ ผลสัมฤทธิ์ และบัณฑิตของหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยในหนึ่งทศวรรษหน้า (พ.ศ.๒๕๖๐-๒๕๖๙). ใน รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ ๑ ฉบับสมบูรณ์. วิทยาลัยสงฆ์พุทธปัญญาศรีทวารวดี มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วันที่ ๙-๑๐ พฤศจิกายน ๒๕๖๑ หน้า ๑๓๑-๑๔๕.
อนุชา พละกุล. (ผลงานร่วม). ธรรมาภิบาล : ทางรอด ทางเลือก สู่การปกครองอย่างยั่งยืนของท้องถิ่น. งานประชุมวิชาการระดับนานาชาติภูมิศาสตร์เชิงวัฒนธรรมในพระพุทธศาสนา ครั้งที่ ๗ ประจำปี ๒๕๕๘ (IBRS 2016) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. สถาบันวิจัยพุทธศาสน์. น่าน. ๒๕๕๘ หน้า ๑๖๕๑-๑๖๖๓.
อนุชา พละกุล. (ผลงานร่วม). ภัยคุกคามรูปแบบใหม่และผลกระทบต่อสังคมไทย. งานประชุมวิชาการระดับนานาชาติภูมิศาสตร์เชิงวัฒนธรรมในพระพุทธศาสนา ครั้งที่ ๗ ประจำปี ๒๕๕๘ (IBRS 2016) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. สถาบันวิจัยพุทธศาสน์. น่าน.๒๕๕๘ หน้า ๑๖๖๔-๑๖๗๕.
อนุชา พละกุล. (ผลงานร่วม). อาเซียน : ความสัมพันธ์กระแสนิยมระหว่างประเทศสมัยใหม่. งานประชุมวิชาการระดับนานาชาติภูมิศาสตร์เชิงวัฒนธรรมในพระพุทธศาสนา ครั้งที่ ๗ ประจำปี ๒๕๕๘ (IBRS 2016) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. สถาบันวิจัยพุทธศาสน์. น่าน.๒๕๕๘ หน้า ๑๖๗๖-๑๖๙๐.
อนุชา พละกุล. (ผลงานร่วม). การเสริมสร้างความรู้และควบคุมการทุจริตโดยพระสงฆ์ ภาคประชาชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดเพชรบุรี. Journal of MCU Nakhondhat ISSN: 2586-923X (TCI 1) Vol.6 No.10 (December 2019): 4833-4851.
อนุชา พละกุล. (ผลงานร่วม). ภัยคุกคามรูปแบบใหม่: องค์ประกอบ ตัวบ่งชี้และผลกระทบต่อความมั่นคงของสังคมไทยในจังหวัดเพชรบุรี. Journal of Modern Learning Development. ISSN 2673-074X. (Tier 2). ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (2020): มีนาคม – เมษายน 2563 ในหน้า 78-96.